งานตรวจความปลอดภัย
    บริการตรวจสอบอาคาร
      อาคารที่ต้องตรวจสอบ 9 ประเภท
      บทลงโทษตามกฎหมาย
      ขั่นตอนการดำเนินงานตรวจสอบ
      รายละเอียดการตรวจสอบ
      ทำไมต้องตรวจและประโยชน์ที่ได้
      กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
      หน้าที่ของเจ้าของอาคารตามกฎกระทรวง
    บริการตรวจความปลอดภัยไฟฟ้าโรงงานประจำปี
      แบบฟอร์มไฟฟ้ากรมโรงงานและกรมแรงงาน
    ตรวจด้วยกล้องถ่ายภามความร้อนและวัดค่าความต้านทานดิน
    บริการจัดทำรายงานการจัดการพลังงาน
    บริการยื่นขอผ่อนผันการจัดการพลังงานประจำปี
    บริการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
    อบรมสร้างจิตสำนึกให้กับพนักงาน
    Link แนะนำ
      iworldshoping
      สภาวิศวกร
      กรมโยธาธิการและฝังเมือง
      สภาสถาปนิก
      กรมโรงงานอุตสาหกรรม
      วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
      สำนักความปลอดภัยแรงงาน
      สมาคมส่งเสริมความปลอดภัย
    ติดต่อบริษัท/ขอใบเสนอราคา
สถิติผู้เข้าชม
 ขณะนี้มีผู้เข้าใช้ 2
 ผู้เข้าชมในวันนี้ 60
 ผู้เข้าชมทั้งหมด 286,083
 เปิดเว็บ 19/02/2556
 ปรับปรุงเว็บ 19/01/2567
 สินค้าทั้งหมด 4
กรุณาฝาก Email ของท่าน
  เพื่อรับข่าวสาร ที่น่าสนใจ
29 มีนาคม 2567
อา จ. อ. พ. พฤ ศ. ส.
     
10  11  12  13  14  15  16 
17  18  19  20  21  22  23 
24  25  26  27  28  29  30 
31             

บริหารอาคารชุด/สำนักงาน /คอนโด/หมู่บ้าน/โรงงาน/พลาซ่า/Tehical Service และรับตรวจสอบอาคารและพลังงาน

 แบบฟอร์มตรวจ
                    คป.1                                                   
                             แบบตรวจสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่
(Stationary Cranes)                                    
กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย
 
                ข้าพเจ้า..................................................................................................................อายุ............................ปี
ที่อยู่เลขที่.....................ตรอก/ซอย...................................ถนน...................................ตำบล/แขวง............................
อำเภอ/เขต................................................................จังหวัด...............................................โทรศัพท์.........................
สถานที่ทำงาน.......................................................................................................เลขที่............................................
ตรอก/ซอย........................................ถนน........................................................ตำบล/แขวง......................................
อำเภอ/เขต................................................................จังหวัด...................................................โทรศัพท์.....................
ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาเครื่องกล ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505
ประเภท........................................................เลขทะเบียน........................................ตั้งแต่.........................................
 
                ข้าพเจ้าได้ทำการตรวจสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ปั้นจั่นของ...............................................................
โดย....................................................................เจ้าของ/ผู้จัดการ.................................................................................
ที่อยู่เลขที่..............ตรอก/ซอย...................................ถนน........................................ตำบล/แขวง................................
อำเภอ/เขต................................................................จังหวัด...................................................โทรศัพท์.....................
เมื่อวันที่...............................................................ขณะตรวจสอบปั้นจั่นใช้งานอยู่ที่...................................................
....................................................................................................................................................................................
 
                ข้าพเจ้าได้ทำการตรวจสอบปั้นจั่นและอุปกรณ์ตามรายการตรวจสอบที่ระบุไว้ในเอกสารแนบท้าย พร้อม
ทั้งได้ปรับปรุงแก้ไขส่วนที่ชำรุดหรือบกพร่องจนใช้งานได้ถูกต้องปลอดภัย และขอรับรองว่าปั้นจั่นเครื่องนี้ใช้งาน
ได้อย่างปลอดภัย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น

 
 
(ลงชื่อ)..........................................................                         (ลงชื่อ).......................................................
      (..........................................................)                                 (..........................................................)
                     วิศวกรผู้ตรวจสอบ                                                                 เจ้าของ/ผู้จัดการ
 
 
 
สำหรับเจ้าหน้าที่
 
 
 
 
 
 
 
 
รายการตรวจสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่
 
1.             แบบปั้นจั่น                                 o     ปั้นจั่นหอสูง (Tower Crane)
                                                     o     ปั้นจั่นเหนือศีรษะ (Overhead Crane)
                                                     o     ปั้นจั่นขาสูง (Gantry Crane)
                                                     o     อื่น ๆ (ระบุ).............................................................................................
2.             ผู้ผลิต                                           o     สร้างโดย..................................ประเทศ..................................................
                                                                     o     ตามมาตรฐาน..........................................................................................

                                                                     o     ออกแบบให้ยกน้ำหนักได้สูงสุดที่ปลายแขนปั้นจั่น................ต้น (ยาวสุด)

                                                                     o     ออกแบบให้ยกน้ำหนักได้สั้นสุดที่ปลายแขนปั้นจั่น................ต้น (ต้นสุด)
3.             รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคู่มือการใช้ การประกอบ การทดสอบ การซ่อมบำรุง และการตรวจสอบ
                                                                     o     มีมาพร้อมกับปั้นจั่น
                                                                     o     มี โดยวิศวกรกำหนดขึ้น
                                                                     o     ไม่มี
4.             สภาพโครงสร้าง
                4.1           สภาพโครงสร้างปั้นจั่น
                                                                     o     เรียบร้อย
                                                                     o     แตก ชำรุด บิดเบี้ยว ต้องแก้ไข
                4.2           สภาพรอยเชื่อมต่อ (Joints)
                                                      o     เรียบร้อย
                                                                      o    ชำรุดต้องแก้ไข
                4.3           สภาพของนอตและหมุดย้ำ
                                                                     o   เรียบร้อย
                                                                      o   ชำรุดต้องแก้ไข
5.             มีการตรวจสอบปั้นจั่น
                5.1           หลังประกอบเสร็จ                     o    มี    o   ไม่มี
                5.2           หลังซ่อมส่วนสำคัญ    o   มี   o   ไม่มี
                5.3           หลังเกิดอุบัติเหตุ        o   มี   o   ไม่มี
6.             รอก กว้านและตะขอยก
                6.1           เส้นผ่าศูนย์กลางรอกปลายแขนปั้นจั่น.......................................................................................................
                6.2           เส้นผ่าศูนย์กลางรอกของตะขอยก.............................................................................................................
                6.3           สภาพ กว้านและตะขอยก
                                                                     o   เรียบร้อย
                                                                     o   ชำรุดต้องแก้ไข
7.             สภาพของสลัก ลูกปืน เพลา เฟือง โรลเลอร์ (Rollers)
                                                                     o   เรียบร้อย
                                                                     o   ชำรุดต้องแก้ไข
8.             สภาพของเบรคและคลัทช์  
                                                                     o   เรียบร้อย
                                                                     o   ชำรุดต้องแก้ไข
9.             สภาพของลวดวิ่ง (Running Ropes)
                9.1           ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง.......................................................................ส่วนความปลอดภัย (Safety Factor)
                                เท่ากับ.........................................................................................อายุการใช้งาน......................................ปี
                9.2           ในหนึ่งช่วงเกลียวมีลวดขาดตั้งแต่ 3 เส้นขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
                9.3           มีลวดขาดตั้งแต่ 6 เส้นขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
10.           สภาพของลวดโยงยึด (Standing Ropes)
            10.1         ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง....................................................ส่วนความปลอดภัย.............................................
                                อายุการใช้งาน....................................ปี
                10.2         เส้นลวดในหนึ่งช่วงเกลียวขาดตั้งแต่สองเส้นขึ้นไป
11.           ลวดวิ่ง และ/หรือ ลวดโยงยึด
                11.1         เส้นผ่าศูนย์กลางเล็กลงเกินร้อยละ 5 ของเส้นผ่าศูนย์กลางเดิม
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
                11.2         ลวดเส้นนอกสึกไปหนึ่งในสามของเส้นผ่าศูนย์กลาง
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
                11.3         ขมวด ถูกระแทก แตกเกลียวหรือชำรุดจนเป็นเหตุให้การรับน้ำหนักเสีย
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
                11.4         ถูกความร้อนทำลายหรือเป็นสนิมมากจนเห็นได้ชัด
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
12.           สภาพของน้ำมันไฮดรอลิกและท่อลม
                12.1         มีการรั่วของน้ำมันและท่อลมหรือข้อต่อ
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
                12.2         มีการบิดตัวอย่างผิดปกติของท่อน้ำมัน
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
                12.3         มีน้ำมันรั่วบริเวณข้อต่อที่ไม่สามารถขันนอตให้หายรั่วได้
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
                12.4         มีรอยสึกบริเวณเปลือกนอกของท่อ
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
13.           สภาพการสึกหรอของกลไกระบบควบคุม
                                                                     o   เรียบร้อย
                                                                     o   ชำรุดต้องแก้ไข
14.           สภาพการหล่อลื่นโดยทั่วไป
                                                                     o   เรียบร้อย
                                                                     o   บกพร่องต้องแก้ไข
15.           มีครอบปิด (Guard) ส่วนที่หมุนได้ ที่อาจเป็นอันตราย
                                                                     o     มี    o    ไม่มี
16.           การยึดโยงปั้นจั่นและน้ำหนักถ่วง (Counterweight) ให้มั่นคง
                                                                     o   เรียบร้อย
                                                                     o   ชำรุดต้องแก้ไข
17.           อุปกรณ์ไฟฟ้า
                17.1         สภาพแผงหรือสวิตซ์ไฟฟ้า รีเลย์และอุปกรณ์อื่น
                                                                     o   เรียบร้อย
                                                                     o   ชำรุดต้องแก้ไข
                17.2         สภาพมอเตอร์ไฟฟ้า
                                                                     o   เรียบร้อย
                                                                     o   ชำรุดต้องแก้ไข
18.           ความดึงของสายพานตัววี
                                                                     o   ปกติ
                                                                     o   ต้องปรับ
19.           การทำงานของ Limit Switches ของ
                19.1         ชุดตะขอยก
                                                                     o   ถูกต้องเรียบร้อย
                                                                     o   ต้องปรับแต่งใหม่
                19.2         ชุดล้อเลื่อน           
                                                                     o   ถูกต้องเรียบร้อย
                                                                     o   ต้องปรับแต่งใหม่
                19.3         มุมแขนปั้นจั่น (เฉพาะ Derricks)
                                                                     o   ถูกต้องเรียบร้อย
                                                                     o   ต้องปรับแต่งใหม่
                19.4         การเคลื่อนที่บนรางของปั้นจั่น
                                                                     o   ถูกต้องเรียบร้อย
                                                                     o   ต้องปรับแต่งใหม่
                19.5         ชุดพิกัดน้ำหนักยก
                                                                     o   ถูกต้องเรียบร้อย
                                                                     o   ต้องปรับแต่งใหม่
20.           ปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่บนรางหรือมีรางล้อเลื่อนอยู่บนแขนมีกันชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองข้างของราง
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
21.           มีอุปกรณ์ป้องกันไม่ให้ล้อเลื่อนตกจากรางด้านข้าง
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
22.           มีการดัดแปลงแก้ไขส่วนหนึ่งส่วนใดของปั้นจั่น
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
23.           ปั้นจั่นที่มีความสูงเกินสามเมตร มีบันไดพร้อมราวจับและโครงโลหะกันตกให้แก่ลูกจ้างที่ทำงาน
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
24.           มีการจัดทำพื้นและทางเดินบนปั้นจั่นเป็นชนิดกันลื่น
                                                                     o   มี    o  ไม่มี
 
 

รายการแก้ไข ตรวจสอบ ปรับแต่ง สิ่งชำรุดบกพร่อง

................................................................................................................................................................................................................
 
แบบ คป.2 
แบบตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดเคลื่อนที่
(Mobile Cranes) 
กรมแรงงานกระทรวงมหาดไทย
ขาพเจา.....................................................................................................อายุ.....................................ป
ที่อยูเลขที่..........................ตรอก/ซอย....................ถนน........................ตําบล/แขวง.................................... 
อําเภอ/เขต.......................................จังหวัด.........................โทรศัพท......................................................... 
สถานที่ทํางาน....................................................................................เลขที่.............................................. 
ตรอก/ซอย................ถนน.....................ตําบล/แขวง....................อําเภอ/เขต....................................จังหวัด................................โทรศัพท....................................................... 
ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาเครื่องกลตามพระราบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรมพ.ศ. 2505 
ประเภท..........................................................เลขทะเบียน.................................................ตั้งแต........................................................... 
ขาพเจาไดทําการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นของ............................................................................ 
โดย..................................เจาของ/ผูจัดการ...............................................................................................
ที่อยูเลขที่........................ตรอก/ซอย...................ถนน.......................ตําบล/แขวง........................................ 
อําเภอ/เขต.............................จังหวัด............................................โทรศัพท................................................. 
เมื่อวันที่..................................ขณะตรวจสอบปนจั่นใชงานอยูที่....................................................................... 


ขาพเจาไดทําการตรวจสอบปนจั่นและอุปกรณตามรายการตรวจสอบที่ระบุไวในเอกสารแนบทายพรอมทั้งไดปรับปรุง
แกไขสวนที่ชํารุดหรือบกพรองจนใชงานไดถูกตองปลอดภัยและขอรับรองวาปนจั่นเครื่องนี้สามารถใชงานไดอยางปลอดภัย
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น


(ลงชื่อ)...........................................................              (ลงชื่อ)........................................................... 
 (..................................................................)                     (.............................................................) 
                    วิศวกรผูตรวจสอบ                                                                    เจาของ/ผูจัดการ
สําหรับเจาหนาที่แบบ คป.2 
รายงานตรวจสอบสวนประกอบและอปกรณ ุ ของปนจั่นชนิดเคลื่อนที่
1. แบบปนจั่น ไฮดรอลิกลอยาง
ลอตีนตะขาบ
อื่นๆ
2. ผูผลิต สรางโดย............................................................ประเทศ.......................................... 
ตามมาตรฐาน............................................................................................................ 
ออกแบบใหยกน้ําหนักไดสูงสุดที่ปลายแขนปนจั่น..............................ตัน (ยาวสุด) 
ออกแบบใหยกน้ําหนักไดสั้นสุดที่ตนแขนปนจั่น.................................ตัน (สั้นสุด) 
3. รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคูมือการใชงานการประกอบ การทดสอบการซอมบํารุงและการตรวจสอบ
มีมาพรอมกับปนจั่น
มีโดยวิศวกรรมกําหนดขึ้น   ไมมี
4. สภาพโครงสราง
 4.1 สภาพโครงสรางปนจั่น
เรียบรอย
แตก ชํารุดบิดเบี้ยวตองแกไข
 4.2 สภาพรอยเชื่อมตอ (Joints) 
เรียบรอย                ชํารุดตองแกไข
 4.3 สภาพของนอตและหมุดย้ํา
เรียบรอย                ชํารุดตองแกไข
5. มีการตรวจสอบปนจั่น
 5.1 หลังประกอบเสร็จ       มี             ไมมี
 5.2 หลังซอมสวนสําคัญ    มี             ไมมี
 5.3 หลังเกิดอุบัติเหตุ         มี             ไมมี
……………………………………………………………(วิศวกรผูตรวจทดสอบ) แบบ คป.2 
6. รอกกวานและตะขอยก
 6.1 เสนผานศูนยกลางรอกปลายแขนปนจั่น.......................................................................................................................... 
 6.2 เสนผานศูนยกลางรอกของตะขอยก.............................................................................................................................. 
 6.3 สภาพรอกกวานและตะขอยก
เรียบรอย                ชํารุดตองแกไข
7. สภาพของสลักลูกปนเพลาเฟองโรลเลอร (Rollers) 
เรียบรอย                ชํารุดตองแกไข
8. สภาพของลวดวิ่ง (Running Ropes) 
 8.1 ขนาดเสนผานศูนยกลาง................................................................สวนความปลอดภัย (Safety Factor) 
เทากับ....................................................................................อายุการใชงาน...................................ป
 8.2 ในหนึ่งชวงเกลียวมีลวดขาดตั้งแต 3 เสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน
มี                               ไมมี
 8.3 มีลวดขาดตั้งแต 6 เสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน
มี                               ไมมี
9. สภาพของลวดโยงยึด (Standing Ropes) 
 9.1 ขนาดเสนผานศูนยกลาง..................................................................สวนความปลอดภัย................................................... 
อายุการใชงาน....................................ป
 9.2 เสนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป
มี                                ไมมี
10. ลวดวิ่งและ/หรือลวดโยงยึด
 10.1 เสนผานศูนยกลางเล็กลงเกินรอยละ 5 ของเสนผานศูนยกลางเดิม
มี                                ไมมี
 10.2 ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผานศูนยกลาง
มี                                ไมมี
 10.3 ขมวดถูกบดกระแทกแตกเกลียวหรือชํารุดจนเปนเหตุใหการรับน้ําหนักเสียไป
มี                                 ไมมี
 10.4 ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิทมากจนเห็นไดชัด
มี                                 ไมมี
……………………………………………………………(วิศวกรผูตรวจทดสอบ) แบบ คป.2 
11. สภาพการหลอลื่นโดยทั่วไป
เรียบรอย                  บกพรองตองแกไข
12. มีครอบปด (Guard) สวนที่หมุนไดที่อาจเปนอันตราย
มี                                 ไมมี
13. มีที่ครอบหรือฉนวนหุมทอไอเสียของปนจั่น
มี                                 ไมมี
14. ความตึงของสายพานตัววี
ปกติ                             ตองปรับ
15. สภาพของฐานชวยรับน้ําหนัก
เรียบรอย                      ชํารุดตองแกไข
16. มีอุปกรณปองกันแขนตอใหอยูหางจากแนวเสนตรงของแขนปนจั่นเกิน 5 องศา
มี                                 ไมมี
17. เครื่องดับเพลิง
มี                                  ไมมี
18. มีการดัดแปลงแกไขสวนหนึ่งสวนใดของปนจั่นหรือไม
มี                                  ไมมี
……………………………………………………………(วิศวกรผูตรวจทดสอบ) แบบ คป.2- 
รายการแกไขซอมแซมปรับแตง สิ่งชํารุดบกพรอง
............................................................................................................................................................................................ 
.................................................................................................................................................................................................

Copyright by eandb.co.th
 
 
Engine by MAKEWEBEASY